วันเสาร์ที่ 7 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558



กติกาการเล่นกระบี่กระบอง



การถวายบังคม

ในสมัยโบราณการแสดงการต่อสู้มักกระทำต่อหน้าที่ประทับ ผู้แสดงจึงต้องมีการถวายบังคมซึ่งเป็นการแสดงความเคารพต่อพระเจ้าแผ่นดินด้วย และต่อมาได้เป็นการปฏิบัติเพื่อแสดงความจงรักภักดีต่อพระมหากษัตริย์และผู้มีพระคุณ การถวายบังคมนี้จะกระทำ 3 ครั้ง แต่ละครั้งมีความหมายดังนี้ อ่านเพิ่มเติม




วันอาทิตย์ที่ 18 มกราคม พ.ศ. 2558


ไม้ตี


ไม้ตีที่ 1
ท่าคุมตีลูกไม้
ท่าคุมตีลูกไม้เป็นท่ายืนเตรียมพร้อมก่อนที่จะฝึกหัดตีลูกไม้โดยยืน เท้าชิด หันหน้าเข้าหากัน มือจับกระบี่อยู่ทางขวา ปลายกระบี่พิงอยู่ ที่ไหล่ขวา แขนเหยียดตึง โกร่งกระบี่อยู่ข้างหน้า แขนซ้ายอยู่ข้างลำตัว อ่านเพิ่มเติม



วันพฤหัสบดีที่ 15 มกราคม พ.ศ. 2558

ประวัติความเป็นมาของการเล่นกระบี่กระบอง


การเล่นกระบี่กระบองเป็นพื้นฐานเบื้องต้นส่วนหนึ่งของศิลปะการต่อสู้ของไทย ที่เรียกว่า กระบี่กระบอง การเล่นกระบี่กระบองเป็นกีฬาที่บรรพบุรุษไทยนำเอาศิลปการต่อสู้  อ่านเพิ่มเติม



ท่ารำกระบี่-กระบอง 12  ท่า


1. ไม้รำที่ 1 ลอยชาย ทิศในการเดิน เดินเฉียงแบบสลับฟันปลาเริ่มจากท่าคุมรำ
จังหวะที่ 1 ก้าวเท้าซ้ายเฉียงไปขวา วางเท้าซ้ายลงหน้าเท้าขวาลักษณะทำกึ่งขวาหันโล้น้ำหนักตัวไปข้างหน้า เข่าซ้ายงอเล็กน้อย
จังหวะที่ 2 ก้าวเท้าขวาชิดเท้าซ้าย ลำตัวตรง รักษาระดับกระบี่ให้ขนานพื้น   อ่านเพิ่มเติม





วันอาทิตย์ที่ 11 มกราคม พ.ศ. 2558

การขึ้นพรหมยืน


จากท่านั่ง เมื่อถวายบังคมเสร็จแล้ว ก้มตัวลงข้างหน้า ไหว้กระบี่ มือขวาจับกระบี่ทัดหูให้โกร่งกระบี่อยู่ข้างบนปลายกระบี่ชี้ไปข้างหน้ามือซ้ายจีบอกพร้อมทั้งตั้งเข่าซ้ายจ้วงกระบี่ลงทางซ้ายพร้อมกับลุกขึ้นยืนด้วยเท้าซ้าย หันตัวไปทางขวา หนึ่งมุมฉาก ยกเข่าขวาขึ้นรับศอกขวา กระบี่เฉียงออก 45 องศา  อ่านเพิ่มเติม




การขึ้นพรหมนั่ง


จากท่านั่งเมื่อถวายบังคมเสร็จแล้วหันหน้าไปทางซ้ายก้มตัวลงไหว้กระบี่เอามือขวาจับกระบี่ มือซ้ายจีบไว้ที่หน้าอก  อ่านเพิ่มเติม










การถวายบังคม


เป็นการเคารพครูบาอาจารย์กระบี่กระบอง ซึ่งถือว่าเป็นวัฒนธรรมประเพณีมีความสำคัญเป็นพิเศษ เพราะถือว่า การเคารพครูเป็นสิริมงคล และทำให้ปลอดภัยจากการเล่นหรือการแสดงในครั้งนั้น ๆ ด้วย   อ่านเพิ่มเติม